หน้าหลัก ประเภทกิจกรรม และการนับชั่วโมง

ประเภทกิจกรรม และการนับชั่วโมง

ประเภทกิจกรรม การนับจำนวนชั่วโมง และการให้น้ำหนักกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง ปรับปรุงตามมติคณะกรรมการสภาวิศวกร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2566

ประเภทที่ 1 การศึกษาแบบเป็นทางการ

กิจกรรมที่ 101 เข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีใบที่ 2 หรือปริญญาโท หรือปริญญาเอก (ทั้งอยู่ระหว่างการศึกษาและสำเร็จการศึกษาแล้ว)

กิจกรรมที่ 102 การอบรมทั้งในและนอกหน่วยงานตนเอง ที่มีแบบ ทดสอบหลังการอบรม

กิจกรรมที่ 103 การอบรมทั้งในและนอกหน่วยงานตนเอง ที่ไม่มีแบบทดสอบหลังการอบรม

ประเภทที่ 2 การศึกษาแบบไม่เป็นทางการ

กิจกรรมที่ 201 การเรียนรู้ด้วยตนเองในงานใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง

กิจกรรมที่ 202 การศึกษาดูงาน (ในสาขาที่เกี่ยวข้อง)

ประเภทที่ 3 การเข้าร่วมสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 301 การเข้าร่วมการสัมมนาหรือการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ภายในประเทศ

กิจกรรมที่ 302 การเข้าประชุมในคณะกรรมการหรืออนุกรรมการหรือคณะทำงานที่เกี่ยวกับวิชาการหรือวิชาชีพ ภายในประเทศ

กิจกรรมที่ 303 การเข้าร่วมการสัมมนาหรือการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ระหว่างประเทศ

กิจกรรมที่ 304 การเข้าประชุมในคณะกรรมการหรืออนุกรรมการที่เกี่ยวกับวิชาการหรือวิชาชีพ ระหว่างประเทศ

ประเภทที่ 4 การเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 401 การเป็นสมาชิกในสมาคมทางวิชาการหรือวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 402 การเป็นกรรมการสภาวิศวกรหรือสมาคม หรืออนุกรรมการหรือคณะทำงานหรือผู้ปฏิบัติงานให้กับสภาวิศวกร

กิจกรรมที่ 403 การเป็นอนุกรรมการหรือคณะทำงานในสมาคม

กิจกรรมที่ 404 การขึ้นทะเบียนเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมของสภาวิศวกร

ประเภทที่ 5 กิจกรรมบริการวิชาชีพและวิชาการ

กิจกรรมที่ 501 อาจารย์หรือวิศวกรที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการจัดแผนการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา

กิจกรรมที่ 502 การเป็นกรรมการในหลักสูตรการอบรมเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 503 การมีส่วนร่วมในการกำหนดหลักสูตรการอบรมเพื่อการพัฒนาวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 504 การมีส่วนร่วมในการพิจารณาและแก้ไขกฎกระทรวงมาตรฐาน

กิจกรรมที่ 505 เป็นกรรมการสอบโครงงานวิจัย ของนักศึกษาต่างมหาวิทยาลัยเท่านั้น

กิจกรรมที่ 506 การเข้าร่วมกิจกรรมวิศวกรอาสา

กิจกรรมที่ 507 การวางแผนการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมให้กับชุมชนและสังคม

กิจกรรมที่ 508 การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในตำแหน่งวิศวกรโครงการ วิศวกรควบคุมโครงการ ผู้จัดการโครงการและผู้บริหารโครงการ

กิจกรรมที่ 510 การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจากองค์กรที่เป็นการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถทางวิศวกรรม

ประเภทที่ 6 การมีส่วนร่วมในคณะที่ปรึกษาหรือเข้าร่วมทำวิจัยทางด้านวิศวกรรม

กิจกรรมที่ 601 การได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาในหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน

กิจกรรมที่ 602 การได้รับเชิญเข้าร่วมการทำวิจัย ในหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน

ประเภทที่ 7 การสร้างสรรค์ความรู้ความชำนาญในวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 701 การมีส่วนร่วมในการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน

กิจกรรมที่ 702 จัดทำงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ลงในวารสาร ภายในประเทศ (ที่มีการตรวจทาน) การเขียนหนังสือหรือเอกสารทางวิชาชีพ ภายในประเทศ

กิจกรรมที่ 703 จัดทำงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ลงในวารสาร ต่างประเทศ (ที่มีการตรวจทาน) การเขียนหนังสือหรือเอกสารทางวิชาชีพ ต่างประเทศ

กิจกรรมที่ 704 จัดทำงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์ลงในวารสาร ภายในประเทศ (ที่ไม่มีการตรวจทาน)

กิจกรรมที่ 705 การตรวจและปรับแก้บทความงานวิจัย ตามข้อ 702 ของผู้อื่นในประเทศ

กิจกรรมที่ 706 การตรวจและปรับแก้บทความงานวิจัย ตามข้อ 703 ของผู้อื่นต่างประเทศ

กิจกรรมที่ 707 การเป็นวิทยากรหรือโค้ชในการอบรมหรือสอนการปฏิบัติงานทั้งในหน่วยงานตนเองและนอกหน่วยงาน

กิจกรรมที่ 708 การเป็นวิทยากรในการสัมมนาและการประชุมทางวิชาการ ทั้งในหน่วยงานตนเองและนอกหน่วยงาน

ประเภทที่ 8 การจดสิทธิของทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม

กิจกรรมที่ 801 การจดสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม

ประเภทที่ 9 นอกเหนือจากประเภทกิจกรรม 1-8

กิจกรรมที่ 901 กิจกรรม E-Learning ของสภาวิศวกรหรือสมาคมวิชาการหรือวิชาชีพ

กิจกรรมที่ 902 การเข้าร่วมประชุมใหญ่สภาวิศวกร

หมายเหตุ

1.จำนวนหน่วยพัฒนา (CPD Units) หมายถึง ผลคูณของจำนวนชั่วโมงปฏิบัติกับน้ำหนัก

2.กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่องที่เข้าร่วมในต่างประเทศ สามารถนำมานับเป็นหน่วยความรู้ได้

3.กิจกรรม 506 “จิตอาสาในงานบริการวิชาชีพวิศวกรรม” ต้องได้รับอนุมัติจากสภาวิศวกร ก่อนจัดกิจกรรม (กรณีฉุกเฉินสามารถขออนุมัติกิจกรรมย้อนหลังได้)

ประเภทที่ 6 การมีส่วนร่วมทางด้านวิศวกรรมในภาครัฐ และภาคเอกชน

กิจกรรมที่ 601

กิจกรรมที่ 602